เมื่อวันที่ 30 ธ.ค.53 เมื่อเวลา 11.00 น. ที่ห้องพิจารณาคดี 704 ศาลอาญา ถ.รัชดาภิเษก ศาลออกนั่งบัลลังก์อ่านคำพิพากษาในคดีหมายเลขดำ อ.4486/2551 ที่พนักงานอัยการฝ่ายคดีอาญา 4 เป็นโจทก์ยื่นฟ้องนายธเนศร์ คำชุม กับพวก รวม 85 คน กลุ่มนักรบศรีวิชัย การ์ดพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย เป็นจำเลยในความผิดฐานสมคบกันตั้งแต่ห้าคนขึ้นไปเพื่อกระทำความผิดฐานเป็นซ่องโจร, มั่วสุมกันตั้งแต่ 10 คนขึ้นไปใช้กำลังประทุษร้าย หรือกระทำการอย่างหนึ่งอย่างใดให้เกิดความวุ่นวายในบ้านเมือง, ร่วมกันไม่มีเหตุอันสมควรเข้าไปหรือซ่อนตัวในเคหสถาน หรือสำนักงานในความครอบครองของผู้อื่นโดยใช้กำลังประทุษร้าย หรือโดยมีอาวุธในเวลากลางคืน, ร่วมกันทำให้เสียทรัพย์, ร่วมกันข่มขืนใจผู้อื่นให้กระทำการใด หรือจำยอมต่อสิ่งใด โดยทำให้กลัวว่าจะเกิดอันตรายต่อชีวิต ร่างกาย เสรีภาพ หรือทรัพย์สิน โดยใช้กำลังประทุษร้ายโดยมีอาวุธ, ร่วมกันพาอาวุธไปในเมืองหรือทางสาธารณะโดยไม่มีเหตุอันสมควร ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 32, 33, 83, 91, 92, 210, 215, 309, 358, 364, 365 และ 371 พ.ร.บ.อาวุธปืนและเครื่องกระสุนปืนฯ พ.ศ.2490, พ.ร.บ.ยาเสพติดให้โทษ พ.ศ.2545 และ พ.ร.บ.วิทยุคมนาคม พ.ศ.2535
คดีนี้โจทก์ฟ้องว่า ระหว่างวันที่ 22-25 ส.ค.51 จำเลยทั้ง 82 คน กับพวกอีก 3 คน ซึ่งเป็นเยาวชน ร่วมกันบุกรุกอาคารสำนักงานสถานี NBT พร้อมพกอาวุธจำนวนมาก จากนั้นจำเลยได้ร่วมกันทำลายทรัพย์สิน รวมค่าเสียหายทั้งสิ้นกว่า 6 แสนบาท ซึ่งทรัพย์สินดังกล่าวเป็นของทางราชการ โดยจำเลยที่ 1 มีเครื่องรับและส่งวิทยุคมนาคม ไว้ในครอบครองโดยไม่ได้รับอนุญาต ขณะที่จำเลยที่ 39, 80 มีใบกระท่อม ยาเสพติดให้โทษประเภทที่ 5 รวมจำนวน 18 ใบไว้ในครอบครอง ในชั้นสอบสวน จำเลยที่ 1 ให้การรับสารภาพในข้อหาพกพาอาวุธปืนติดตัวไปโดยไม่ได้รับอนุญาต ส่วนจำเลยที่ 39 ให้การรับสารภาพ เฉพาะข้อหามีใบกระท่อมไว้ในครอบครอง แต่ภายหลังกลับให้การปฏิเสธ ส่วนข้อหาอื่นจำเลยที่ 1-85 ให้การปฏิเสธ
ศาลพิเคราะห์แล้วเห็นว่า จำเลยที่ 1 รับว่าได้ร่วมกับพวกเกินกว่า 5 คน บุกรุกเข้าไปที่สถานีโทรทัศน์ NBT พร้อมกับพกพาอาวุธเข้าไป อันเป็นการกระทำความผิดฐานซ่องโจร แม้ว่าโจทก์จะไม่มีพยานหลักฐานก็ตาม แต่ตามพฤติการณ์บ่งชี้ว่า จำเลยที่ 1 กระทำผิดดังกล่าว และมีความผิดฐานมีวิทยุสื่อสารในครอบครองโดยไม่ได้รับอนุญาต นอกจากนี้จำเลยที่ 1 และ 2 ยังกระทำผิดฐานมีอาวุธปืน และพกพาปืนไปในที่สาธารณะด้วย ส่วนจำเลยอื่นนั้นโจทก์ไม่ได้นำสืบให้เห็นว่าจำเลยคนใดพกพาปืนชนิดไหน จึงลงโทษจำเลยอื่นไม่ได้ ส่วนความผิดฐานมั่วสุม บุกรุก และทำให้เสียทรัพย์นั้นเห็นว่า การวินิจฉัยว่าจำเลยใดกระทำความผิดนั้น ต้องพิจารณาไปตามข้อเท็จจริงเห็นว่ากรณีดังกล่าวเป็นเพียงการที่จำเลยร่วมกันบุกรุก สถานีโทรทัศน์ และสถานีวิทยุ NBT เท่านั้น
นอกจากนี้ ในความผิดฐานกระทำการอย่างหนึ่งอย่างใดให้เกิดความวุ่นวายในบ้านเมืองนั้น เห็นว่าจากการนำสืบของพนักงานสอบสวนพยานโจทก์ระบุว่า นายสนธิ ลิ้มทองกุล แกนนำ พันธมิตรฯ ประกาศชักชวนอาสาสมัครที่จะไปชุมนุมที่สถานีโทรทัศน์ NBT ให้ไปรวมกลุ่มที่ ลานพระบรมรูป รัชกาลที่ 5 ซึ่งเกิดหลังจากที่กลุ่มจำเลยกระทำการดังกล่าวไปแล้ว จึงไม่อาจรับฟังได้ว่าจำเลยทั้งหมดจะมีเจตนาร่วมกันกับแกนนำได้ อีกทั้งไม่ปรากฏว่าเกิดความวุ่นวายในบ้านเมือง แม้จะปรากฏข้อเท็จจริงว่ามีการบุกรุกสถานีโทรทัศน์ NBT ก็ตาม แต่เป็นเพียงความผิดฐานบุกรุกเท่านั้น และจำเลยทั้งหมดยังไม่มีความผิดฐานทำให้เสียทรัพย์ ร่วมกันข่มขืนใจอีกด้วย เนื่องจากโจทก์ไม่นำสืบให้เห็นว่าจำเลยกระทำผิดในความผิดฐานดังกล่าว ส่วนจำเลยที่ 39 และ 80 มีความผิดฐานยาเสพติดใบกระท่อมในครอบครอง
พิพากษาว่าจำเลยที่ 1-41 และ 43-85 มีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 210 วรรคแรก 365 (1) (2) (3) ประกอบมาตรา 364, 83 ขณะกระทำผิด จำเลยที่ 30, 47, 81 อายุยังไม่เกิน 20 ปี เห็นสมควรลดโทษมาตราส่วนโทษ 1 ใน 3 ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 76 จำเลยที่ 83-85 อายุต่ำกว่า 18 ปี เห็นสมควรละโทษให้กึ่งหนึ่ง ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 75 ฐานเป็นซ่องโจร จำคุกจำเลยที่ 1-29 ที่ 31-41 ที่ 43-46 ที่ 48-80 ที่ 82 จำคุกคนละ 1 ปี จำคุกจำเลยที่ 30 ที่ 47 ที่ 81 คนละ 8 เดือน สั่งจำคุกจำเลยที่ 83-85คนละ 6 เดือน ฐานบุกรุก จำคุกจำเลยที่ 1-29, 31-41, 43-46, 48-80 และที่ 82 คนละ 1ปี จำคุกจำเลยที่ 30, 47, 81 คนละ 8 เดือน จำคุกจำเลยที่ 83-85 คนละ 6 เดือน
จำเลยที่ 1 มีความผิดตาม พ.ร.บ.อาวุธปืน พ.ศ. 2490 มาตรา 8 ทวิวรรคหนึ่ง , 72 วิ วรรคสอง ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 371 เป็นการกระทำความผิดกรรมเดียว ผิดต่อกฎหมายหลายบท ให้ลงโทษตาม พ.ร.บ.อาวุธปืน ซึ่งเป็นกฎหมายที่มีโทษหนักที่สุด ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 90 จำคุก 1 ปี และความผิด พ.ร.บ.วิทยุคมนาคม พ.ศ. 2498 มาตรา 6 และ 23 สั่งจำคุก 1 ปี
จำเลยที่ 2 มีความผิด พ.ร.บ.อาวุธปืน มาตรา 7 และ 72 วรรคสอง สั่งปรับ 1 พันบาท ส่วนจำเลยที่ 39 และ 80 มีความผอดตาม พ.ร.บ.ยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 มาตรา 26 วรรคหนึ่ง 76 วรรคสอง สั่งปรับคนละ 1 พันบาท เพิ่มโทษจำเลยที่ 24 1ใน3 ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 92 รวมเป็นจำคุกกระทงละ 1ปี 4 เดือน การกระทำของจำเลยที่ 1-41 และ 43-85 เป็นความผิดหลายกรรมต่างกัน ให้ลงโทษทุกกรรมเป็นกระทงความผิดไป ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 91 จำเลยรับข้อเท็จจริงว่าได้ร่วมกันบุกรุกอาคารสำนักงานสถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย NBT และสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย ความผิดตาม พ.ร.บ.อาวุธปืน
คดีนี้โจทก์ฟ้องว่า ระหว่างวันที่ 22-25 ส.ค.51 จำเลยทั้ง 82 คน กับพวกอีก 3 คน ซึ่งเป็นเยาวชน ร่วมกันบุกรุกอาคารสำนักงานสถานี NBT พร้อมพกอาวุธจำนวนมาก จากนั้นจำเลยได้ร่วมกันทำลายทรัพย์สิน รวมค่าเสียหายทั้งสิ้นกว่า 6 แสนบาท ซึ่งทรัพย์สินดังกล่าวเป็นของทางราชการ โดยจำเลยที่ 1 มีเครื่องรับและส่งวิทยุคมนาคม ไว้ในครอบครองโดยไม่ได้รับอนุญาต ขณะที่จำเลยที่ 39, 80 มีใบกระท่อม ยาเสพติดให้โทษประเภทที่ 5 รวมจำนวน 18 ใบไว้ในครอบครอง ในชั้นสอบสวน จำเลยที่ 1 ให้การรับสารภาพในข้อหาพกพาอาวุธปืนติดตัวไปโดยไม่ได้รับอนุญาต ส่วนจำเลยที่ 39 ให้การรับสารภาพ เฉพาะข้อหามีใบกระท่อมไว้ในครอบครอง แต่ภายหลังกลับให้การปฏิเสธ ส่วนข้อหาอื่นจำเลยที่ 1-85 ให้การปฏิเสธ
ศาลพิเคราะห์แล้วเห็นว่า จำเลยที่ 1 รับว่าได้ร่วมกับพวกเกินกว่า 5 คน บุกรุกเข้าไปที่สถานีโทรทัศน์ NBT พร้อมกับพกพาอาวุธเข้าไป อันเป็นการกระทำความผิดฐานซ่องโจร แม้ว่าโจทก์จะไม่มีพยานหลักฐานก็ตาม แต่ตามพฤติการณ์บ่งชี้ว่า จำเลยที่ 1 กระทำผิดดังกล่าว และมีความผิดฐานมีวิทยุสื่อสารในครอบครองโดยไม่ได้รับอนุญาต นอกจากนี้จำเลยที่ 1 และ 2 ยังกระทำผิดฐานมีอาวุธปืน และพกพาปืนไปในที่สาธารณะด้วย ส่วนจำเลยอื่นนั้นโจทก์ไม่ได้นำสืบให้เห็นว่าจำเลยคนใดพกพาปืนชนิดไหน จึงลงโทษจำเลยอื่นไม่ได้ ส่วนความผิดฐานมั่วสุม บุกรุก และทำให้เสียทรัพย์นั้นเห็นว่า การวินิจฉัยว่าจำเลยใดกระทำความผิดนั้น ต้องพิจารณาไปตามข้อเท็จจริงเห็นว่ากรณีดังกล่าวเป็นเพียงการที่จำเลยร่วมกันบุกรุก สถานีโทรทัศน์ และสถานีวิทยุ NBT เท่านั้น
นอกจากนี้ ในความผิดฐานกระทำการอย่างหนึ่งอย่างใดให้เกิดความวุ่นวายในบ้านเมืองนั้น เห็นว่าจากการนำสืบของพนักงานสอบสวนพยานโจทก์ระบุว่า นายสนธิ ลิ้มทองกุล แกนนำ พันธมิตรฯ ประกาศชักชวนอาสาสมัครที่จะไปชุมนุมที่สถานีโทรทัศน์ NBT ให้ไปรวมกลุ่มที่ ลานพระบรมรูป รัชกาลที่ 5 ซึ่งเกิดหลังจากที่กลุ่มจำเลยกระทำการดังกล่าวไปแล้ว จึงไม่อาจรับฟังได้ว่าจำเลยทั้งหมดจะมีเจตนาร่วมกันกับแกนนำได้ อีกทั้งไม่ปรากฏว่าเกิดความวุ่นวายในบ้านเมือง แม้จะปรากฏข้อเท็จจริงว่ามีการบุกรุกสถานีโทรทัศน์ NBT ก็ตาม แต่เป็นเพียงความผิดฐานบุกรุกเท่านั้น และจำเลยทั้งหมดยังไม่มีความผิดฐานทำให้เสียทรัพย์ ร่วมกันข่มขืนใจอีกด้วย เนื่องจากโจทก์ไม่นำสืบให้เห็นว่าจำเลยกระทำผิดในความผิดฐานดังกล่าว ส่วนจำเลยที่ 39 และ 80 มีความผิดฐานยาเสพติดใบกระท่อมในครอบครอง
พิพากษาว่าจำเลยที่ 1-41 และ 43-85 มีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 210 วรรคแรก 365 (1) (2) (3) ประกอบมาตรา 364, 83 ขณะกระทำผิด จำเลยที่ 30, 47, 81 อายุยังไม่เกิน 20 ปี เห็นสมควรลดโทษมาตราส่วนโทษ 1 ใน 3 ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 76 จำเลยที่ 83-85 อายุต่ำกว่า 18 ปี เห็นสมควรละโทษให้กึ่งหนึ่ง ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 75 ฐานเป็นซ่องโจร จำคุกจำเลยที่ 1-29 ที่ 31-41 ที่ 43-46 ที่ 48-80 ที่ 82 จำคุกคนละ 1 ปี จำคุกจำเลยที่ 30 ที่ 47 ที่ 81 คนละ 8 เดือน สั่งจำคุกจำเลยที่ 83-85คนละ 6 เดือน ฐานบุกรุก จำคุกจำเลยที่ 1-29, 31-41, 43-46, 48-80 และที่ 82 คนละ 1ปี จำคุกจำเลยที่ 30, 47, 81 คนละ 8 เดือน จำคุกจำเลยที่ 83-85 คนละ 6 เดือน
จำเลยที่ 1 มีความผิดตาม พ.ร.บ.อาวุธปืน พ.ศ. 2490 มาตรา 8 ทวิวรรคหนึ่ง , 72 วิ วรรคสอง ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 371 เป็นการกระทำความผิดกรรมเดียว ผิดต่อกฎหมายหลายบท ให้ลงโทษตาม พ.ร.บ.อาวุธปืน ซึ่งเป็นกฎหมายที่มีโทษหนักที่สุด ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 90 จำคุก 1 ปี และความผิด พ.ร.บ.วิทยุคมนาคม พ.ศ. 2498 มาตรา 6 และ 23 สั่งจำคุก 1 ปี
จำเลยที่ 2 มีความผิด พ.ร.บ.อาวุธปืน มาตรา 7 และ 72 วรรคสอง สั่งปรับ 1 พันบาท ส่วนจำเลยที่ 39 และ 80 มีความผอดตาม พ.ร.บ.ยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 มาตรา 26 วรรคหนึ่ง 76 วรรคสอง สั่งปรับคนละ 1 พันบาท เพิ่มโทษจำเลยที่ 24 1ใน3 ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 92 รวมเป็นจำคุกกระทงละ 1ปี 4 เดือน การกระทำของจำเลยที่ 1-41 และ 43-85 เป็นความผิดหลายกรรมต่างกัน ให้ลงโทษทุกกรรมเป็นกระทงความผิดไป ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 91 จำเลยรับข้อเท็จจริงว่าได้ร่วมกันบุกรุกอาคารสำนักงานสถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย NBT และสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย ความผิดตาม พ.ร.บ.อาวุธปืน
เมื่อพิจารณาคำพิพากษาจะเห็นได้ว่า
จำเลยที่ 1 มีความผิดตาม พ.ร.บ.อาวุธปืน พ.ศ. 2490 มาตรา 8 ทวิวรรคหนึ่ง , 72 วิ วรรคสอง ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 371 เป็นการกระทำความผิดกรรมเดียว ผิดต่อกฎหมายหลายบท ให้ลงโทษตาม พ.ร.บ.อาวุธปืน ซึ่งเป็นกฎหมายที่มีโทษหนักที่สุด ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 90 จำคุก 1 ปี และความผิด พ.ร.บ.วิทยุคมนาคม พ.ศ. 2498 มาตรา 6 และ 23 สั่งจำคุก 1 ปี
เต็มระวางโทษไม่ได้รับการลดโทษเช่นเดียวกัน
เต็มระวางโทษไม่ได้รับการลดโทษเช่นเดียวกัน
จำเลยที่ 2 มีความผิด พ.ร.บ.อาวุธปืน มาตรา 7 และ 72 วรรคสอง สั่งปรับ 1 พันบาท ส่วนจำเลยที่ 39 และ 80 มีความผิดตาม พ.ร.บ.ยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 มาตรา 26 วรรคหนึ่ง 76 วรรคสอง สั่งปรับคนละ 1 พันบาท เพิ่มโทษจำเลยที่ 24 1ใน3 ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 92 รวมเป็นจำคุกกระทงละ 1ปี 4 เดือน นอกจากไม่ได้รับการลดโทษแล้วยังเพิ่มโทษฐานไม่เข็ดหลาบอีกด้วย
การกระทำของจำเลยที่ 1-41 และ 43-85 เป็นความผิดหลายกรรมต่างกัน ให้ลงโทษทุกกรรมเป็นกระทงความผิดไป ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 91 จำเลยรับข้อเท็จจริงว่าได้ร่วมกันบุกรุกอาคารสำนักงานสถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย NBT และสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย ความผิดตาม พ.ร.บ.อาวุธปืน
คำว่า ลงโทษเรียงกระทงความผิดคือ เอาโทษทุกกรรมมาบวกกันเข้าไป
การกระทำของจำเลยที่ 1-41 และ 43-85 เป็นความผิดหลายกรรมต่างกัน ให้ลงโทษทุกกรรมเป็นกระทงความผิดไป ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 91 จำเลยรับข้อเท็จจริงว่าได้ร่วมกันบุกรุกอาคารสำนักงานสถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย NBT และสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย ความผิดตาม พ.ร.บ.อาวุธปืน
คำว่า ลงโทษเรียงกระทงความผิดคือ เอาโทษทุกกรรมมาบวกกันเข้าไป
ดังนั้น การที่ศาลพิพากษาคดีนี้จึงได้กระทำไปตามบทบัญญัติของกฎหมายแล้ว ปัญหาที่คนเสื้อแดงเพียรพูดว่า เหตุใด ศาลจึงลงโทษ นปช. เร็ว พิพากษาเร็ว แต่ทำใมคดีของพันธมิตรล่าช้านั้น เมื่อพิจารณาคดีของ นปช. ล้วนแต่เป็นคดีที่มีการรับสารภาพทั้งสิ้น ไม่มีการประกันตัวออกไปสู้คดี ดังนั้น ตาม ป.วิอาญา มาตรา 176 หากโทษไม่เกิน 5 ปี ศาลสามารถพิพากษาได้เลย และเมื่อมีการรับสารภาพ ศาลก็ได้ลดโทษให้กึ่งหนึ่งตามกฎหมายแล้ว
เมื่อวันที่ 29 เม.ย. ศาลแขวงพระนครเหนือ พิพากษาให้จำคุกผู้ชุมนุมเสื้อแดงที่เคลื่อนไปชุมนุมบริเวณอนุสรณ์สถานแห่ง ชาติ จำนวน 7 คน คนละ 2 เดือน โดยไม่รอลงอาญา โดยเมื่อเวลา 15.30 น. พนักงานสอบสวน สน.ดอนเมือง ควบคุมตัวนายวรวุฒิ อุบลบาล อายุ 44 ปี , นายโยธิน เรณูรัตน์ อายุ 24 ปี , นายบุญเกิด ประสพโชค อายุ 37 ปี , นายสมพงษ์ ทับเนียม อายุ 44 ปี , นายบุญเหลือ โพธิตะ อายุ 60 ปี , นายประสาน กู้ฉินชัย อายุ 55 ปี , นายจรัญ ต้นพรหม อายุ 49 ปี และนายณัฎฐพร ศิริพจนากุล อายุ 46 ปี ไปให้พนักงานอัยการยื่นฟ้องด้วยวาจา ในข้อหาร่วมกันฝ่าฝืนข้อกำหนด ประกาศ หรือคำสั่ง พ.ร.ก.บริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.2548 มาตรา 9 และ 11 และพกพาอาวุธมีด ทั้งนี้ ผู้ต้องหา 7 คน ให้การสารภาพ ศาลจึงพิพากษาให้จำคุกคนละ 4 เดือน แต่คำรับสารภาพ มีเหตุบรรเทาโทษเห็นสมควรลดโทษให้กึ่งหนึ่ง จึงจำคุกจำเลยคนละ 2 เดือน และให้ปรับนายจรัญ อีก 50 บาทฐานพกพาอาวุธมีดไปในที่สาธารณะ
เพราะรับสารภาพจึงได้รับการลดโทษกึ่งหนึ่ง
เพราะรับสารภาพจึงได้รับการลดโทษกึ่งหนึ่ง
ส่วนพันธมิตร สู้คดีไม่ยอมรับสารภาพ ศาลจึงลงโทษเต็มระวางโทษ
ซึ่งมาตรการนี้เป็นมาตรการทางกฎหมายที่ใช้ในการลงโทษผู้ที่ทำให้คดีล่าช้า ซึ่งนับว่าสมเหตุสมผลแล้ว
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น
หมายเหตุ: มีเพียงสมาชิกของบล็อกนี้เท่านั้นที่สามารถแสดงความคิดเห็น