บัณฑิตย่อมไม่หวั่นไหวในสรรเสริญหรือนินทา
>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>
ดูกรอตุละ
การนินทาหรือการสรรเสริญนี้มีมาแต่
โบราณ มิใช่มีเพียงวันนี้
คนย่อมนินทาแม้ผู้นั่งนิ่ง
แม้ผู้พูดมาก
แม้พูดพอประมาณ
ผู้ไม่ถูกนินทาไม่มีในโลก
บุรุษผู้ถูกนินทาโดยส่วนเดียว หรือถูกสรรเสริญโดยส่วนเดียว
ไม่มีแล้ว จักไม่มี และไม่มีในบัดนี้
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka2/v.php?B=25&A=862&Z=894
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๕ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๗
ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต
>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>
>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>
ดูกรอตุละ
การนินทาหรือการสรรเสริญนี้
โบราณ มิใช่มีเพียงวันนี้
คนย่อมนินทาแม้ผู้นั่งนิ่ง
แม้ผู้พูดมาก
แม้พูดพอประมาณ
ผู้ไม่ถูกนินทาไม่มีในโลก
บุรุษผู้ถูกนินทาโดยส่วนเดี
ไม่มีแล้ว จักไม่มี และไม่มีในบัดนี้
http://www.84000.org/tipit
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๕ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๗
ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ-ธรรมบท-อุทาน-อิต
>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>
การนินทาผู้บังคับบัญชา หรือเจ้านาย และเพื่อนร่วมงาน ดูเหมือนจะเป็นเรื่องธรรมดาไปแล้วสำหรับผู้ใต้บังคับ บัญชา แต่ที่ไม่ธรรมดาคือ ถ้าการนินทานั้น เป็นการนินทาในข้อที่แปลความหมายได้ว่า ผู้บังคับบัญชาหรือเพื่อนร่วมงานกระทำผิดวินัยข้าราชการ หรือกระทำการอันเป็นการฉ้อราษฎรบังหลวง เบียดบังเวลาราชการโดยไม่เป็นความจริง
จริงอยู่ แม้ในทางธรรมะ ผู้ไม่ถูกนินทาไม่มีในโลก แต่ในทางกฎหมาย หาได้ให้สิทธิผู้ใดกล่าวใส่ความ นินทาผู้ใดไม่
จริงอยู่ แม้ในทางธรรมะ ผู้ไม่ถูกนินทาไม่มีในโลก แต่ในทางกฎหมาย หาได้ให้สิทธิผู้ใดกล่าวใส่ความ นินทาผู้ใดไม่
มาตรา ๓๒๖ ผู้ใดใส่ความผู้อื่นต่อบุคคลที่สาม โดยประการที่น่าจะทำให้ผู้อื่นนั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น หรือถูกเกลียดชัง ผู้นั้นกระทำความผิดฐานหมิ่นประมาท ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
๒. ใส่ความต่อบุคคลที่สาม
บุคคลที่สามหมายถึง ใครก็ได้ที่ไม่ใช่เรา เช่น การกล่าวนั้นได้กล่าวต่อเพื่อนร่วมงานหรือบุคคลภายนอกหน่วยงาน จึงเป็นการใส่ความต่อบุคคลที่สามแล้ว
๓. ทำให้ผู้ถูกใส่ความนั้นเสียหาย ถูกดูหมิ่น หรือถูกเกลียดชัง ในข้อนี้ เอาความรู้สึกของบุคคลที่สามเป็นหลักว่า เมื่อได้ฟังแล้ว รู้สึกดูหมิ่น ดูถูกหรือเกลียดชังผู้ถูกใส่ความหรือไม่ กรณีดังกล่าว ผู้ฟังจะเข้าใจว่า ผู้บังคับบัญชาละทิ้งงานราชการ ทำให้รู้สึกดูหมิ่นเกลียดชังผู้บังคับบัญชา
ดังนั้น ถ้าสงสัยว่า ผู้บังคับบัญชาไม่อยู่ปฏิบัติราชการในหน่วยงานนั้น ได้เดินทางออกนอกหน่วยงานด้วยเหตุใด มีคำสั่งหรือหนังสือจากผู้บังคับบัญชาในระดับสูงกว่าหรือไม่ ควรที่จะสอบถามจากผู้บังคับบัญชา มิใช่คาดเดาเอาเองแล้วนำความไปกล่าวให้เขาได้รับความเสียหาย นอกจากจะผิดวินัยราชการแล้ว ยังมีความผิดทั้งคดีแพ่งและคดีอาญาอีกด้วย
องค์ประกอบความผิดในความผิดฐานหมิ่นประมาท
๑.ใส่ความผู้อื่น
๑.ใส่ความผู้อื่น
อธิบาย อย่างไรเรียกว่าการใส่ความ
การใส่ความคือการกล่าวคำให้ร้าย ไม่ว่าเรื่องนั้นจะเป็นเรื่องจริงหรือไม่จริง ก็ถือว่าเป็นการกล่าวให้ร้าย (ภาษาชาวบ้านเรียกว่า นินทา) เช่น กล่าวว่า ผู้บังคับบัญชาซึ่งเป็นหัวหน้าส่วนราชการไม่ค่อยอยู่ปฏิบัติหน้าที่ เดี๋ยวไปโน่นมานี่ มีราชการบ่อย การกล่าวเช่นนั้น ได้กล่าวโดยมีเจตนาใส่ความให้ผู้ฟังเข้าใจว่า ผู้บังคับบัญชาหนีราชการ ทิ้งงานราชการ อันเป็นการบังหลวง (เป็นการกล่าวหาในข้อสำคัญร้ายแรงเมื่อนำสภาพความเป็นข้าราชการระดับหัวหน้าส่วนราชการมาคำนึงประกอบ) ทั้งๆ ที่ความจริงผู้บังคับบัญชาได้รับคำสั่งเป็นหนังสือให้เดินทางเพื่อปฏิบัติราชการนอกหน่วยงาน เช่น ประชุม อบรมฯลฯ เป็นต้น
การใส่ความคือการกล่าวคำให้ร้าย ไม่ว่าเรื่องนั้นจะเป็นเรื่องจริงหรือไม่จริง ก็ถือว่าเป็นการกล่าวให้ร้าย (ภาษาชาวบ้านเรียกว่า นินทา) เช่น กล่าวว่า ผู้บังคับบัญชาซึ่งเป็นหัวหน้าส่วนราชการไม่ค่อยอยู่ปฏิบัติหน้าที่ เดี๋ยวไปโน่นมานี่ มีราชการบ่อย การกล่าวเช่นนั้น ได้กล่าวโดยมีเจตนาใส่ความให้ผู้ฟังเข้าใจว่า ผู้บังคับบัญชาหนีราชการ ทิ้งงานราชการ อันเป็นการบังหลวง (เป็นการกล่าวหาในข้อสำคัญร้ายแรงเมื่อนำสภาพความเป็นข้าราชการระดับหัวหน้าส่วนราชการมาคำนึงประกอบ) ทั้งๆ ที่ความจริงผู้บังคับบัญชาได้รับคำสั่งเป็นหนังสือให้เดินทางเพื่อปฏิบัติราชการนอกหน่วยงาน เช่น ประชุม อบรมฯลฯ เป็นต้น
๒. ใส่ความต่อบุคคลที่สาม
บุคคลที่สามหมายถึง ใครก็ได้ที่ไม่ใช่เรา เช่น การกล่าวนั้นได้กล่าวต่อเพื่อนร่วมงานหรือบุคคลภายนอกหน่วยงาน จึงเป็นการใส่ความต่อบุคคลที่สามแล้ว
๓. ทำให้ผู้ถูกใส่ความนั้นเสียหาย ถูกดูหมิ่น หรือถูกเกลียดชัง ในข้อนี้ เอาความรู้สึกของบุคคลที่สามเป็นหลักว่า เมื่อได้ฟังแล้ว รู้สึกดูหมิ่น ดูถูกหรือเกลียดชังผู้ถูกใส่ความหรือไม่ กรณีดังกล่าว ผู้ฟังจะเข้าใจว่า ผู้บังคับบัญชาละทิ้งงานราชการ ทำให้รู้สึกดูหมิ่นเกลียดชังผู้บังคับบัญชา
ดังนั้น ถ้าสงสัยว่า ผู้บังคับบัญชาไม่อยู่ปฏิบัติราชการในหน่วยงานนั้น ได้เดินทางออกนอกหน่วยงานด้วยเหตุใด มีคำสั่งหรือหนังสือจากผู้บังคับบัญชาในระดับสูงกว่าหรือไม่ ควรที่จะสอบถามจากผู้บังคับบัญชา มิใช่คาดเดาเอาเองแล้วนำความไปกล่าวให้เขาได้รับความเสียหาย นอกจากจะผิดวินัยราชการแล้ว ยังมีความผิดทั้งคดีแพ่งและคดีอาญาอีกด้วย
ขอบคุณค่ะ อาจารย์
ตอบลบหากลูกน้องบ่นเรื่องโบนัส (หลังน้ำท่วม ไม่มีงาน ไม่มีเงิน) แต่ก็ให้ตั้งหมื่นหนึ่ง บ่นผ่าน Facebook ว่า "เบื่อคนเห็นแก่ตัวอ่ะเพื่อน คิดเอาแต่ได้ฝ่ายเดียว อยู่ต่อไปก็ไม่มีอะไรดีขึ้น มีแต่เบื่อกะเซง!!!" อย่างนี้ถือว่าทำให้เจ้านายเสื่อมเสียไหมคะ ถือเป็นเหตุผลไล่ออกได้ไหมคะ
ตอบลบสอบถาม:ถ้าผู้บังคับบัญชา มีการร้องเรียนให้เกิดความเสียหาย ดูถูกหรือเกลียดชังกับบุคลลที่สาม โดยไม่มีมูล ไม่สามารถให้ความกระจ่างกับผู้ใต้บังคับบัญชาได้ ก่อให้เกิดความแตกแยกในองค์กรและเพื่อนร่วมงาน ผู้บังคับบัญชามีความผิดหรือไม่...
ตอบลบ